วันอังคารที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งและการตกอิสระ

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งและการตกอิสระ

.วัตถุเคลื่อนที่โดยตกแบบอิสระ วัตถุจะตกด้วยแรงโน้มถ่วงของโลกเท่านั้น
โลกจะดึงดูดวัตถุด้วยความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง g = 9.80665 m/s กำลัง 2
ใช้ค่าประมาณ 9.8 หรือ 10

จุดสูงสุดคือ จุดที่มีความเร็วเป็นศูนย์
ระยะทาง คือ พื้นที่ใต้กราฟ



2. โยนวัตถุจากหน้าผาแล้วกลับตกถึงพื้น
กำหนดโยนวัตถุด้วยความเร็วต้น u จากหน้าผาขึ้นไปถึงจุดสูงสุดแล้วตกลงมา

สรุปสูตรในการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งที่วัตถุตกภายใต้แรงโน้มถ่วง g
วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วง g




การเคลื่อนที่ในวินาทีที่ t ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก



การใช้สูตรคำนวณ
u = ความเร็วต้น
v = ความเร็วปลาย
t = เวลา
s = การกระจัด
g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
โดย ปริมาณทุกปริมาณเป็นปริมาณเวคเตอร์ ยกเว้น t (เวลา)เป็นปริมาณสเกลาร์ จึงต้องใช้เครื่องหมายกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่
กำหนดทิศของ u เป็น + เสมอ ปริมาณใดมีทิศสวนทิศ u ปริมาณนั้นเป็น -


ข้อสังเกต

1. ปล่อยวัตถุ U = 0
2. จุดสูงสุด V = 0
3. ความเร็วขาขึ้นเท่ากับความเร็วขาลง แต่ทิศทางตรงกันข้าม
4. วัตถุที่ตกจากยานพาหนะจะมีความเร็วเท่ากับยานและมีทิศเดียวกับยาน
5. วัตถุพบกันเวลาต้องเท่ากัน


ที่มา : http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/motion/motion7.htm

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น